อรรถาธิบายว่าด้วยเรื่อง “ถ้ำ” พื้นที่ทางศิลปะในยุคหลังสมัยใหม่ โครงการ ศิลปะสู่ชุมชน สภาวการณ์-มนุษย์-เมือง: บทสนทนาในถ้ำ

Other Title:
Metro-Sapiens: Dialogue in the Cave
Author:
Subject:
Date:
2014-03-15
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
ถ้ำเคยมีบทบาทที่เป็นทั้งที่อยู่อาศัย และเป็นพื้นที่เพื่อการแสดงออกทางสุนทรียภาพของมนุษย์ เป็นที่ถ่ายทอดความรู้และประสพการณ์ ที่สืบทอดความเชื่อ และเป็นพื้นที่ที่บทสนทนาเชิงสังคม ได้เริ่มต้นขึ้น ปัจจุบันถ้ำอาจเป็นพื้นที่ทางเลือกสำหรับศิลปะแบบการมีส่วนร่วม ที่เปิดโอกาสให้ ผู้คนในชุมชนท้องถิ่น เป็นผู้ร่วมสถาปนาพื้นที่อันเก่าแก่ให้ก้าวสู่การเป็นพื้นที่ของการแสดงออก อย่างร่วมสมัย แม้จะเป็นการชั่วคราว แต่ปรากฎการณ์นี้ควรแก่การวิเคราะห์พิจารณาถึงประเด็น ความเกี่ยวข้องกันระหว่างพื้นที่ธรรมชาติ กับปัญญาของมนุษย์ ในห้วงเวลาของยุคหลังสมัยใหม่ ที่เต็มไปด้วยความเจริญก้าวหน้า Cave was once a shelter and a gallery for a man to reveal his aesthetic perspective. It was a place where a man imparted his knowledge and experiences to others as well as a cloister where he passed on his belief. Most of all, it was a home of social conversation. At present, cave demonstrates its potentiality as an alternative space providing the community a chance to establish an appropriate room for participatory art. Even only as a temporary gallery but this worthy of our consideration upon a relation between natural space and human wisdom in the world of postmodern era.
Type:
Is part of:
วารสารศิลป์ พีระศรี ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (15 มี.ค. 2557) : 105-137
Rights Holder:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Collections:
Total Download:
150