อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาวะน่าสบายและสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร

Other Title:
The effect of landscape elements on outdoor thermal comfort and environment
Date:
2014
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้1 ประกอบด้วย 1)ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางภูมิ สถาปัตยกรรมกบสภาพอากาศระดับจุลภาค 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพอากาศระดับจุลภาคกบความรู้สึกในสภาพอากาศ ั ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งนำไปสู่การหาค่าสภาวะน่าสบาย 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมกับ ความรู้สึกในสภาพอากาศของกลุ่มตัวอย่าง ซึงนำไปสู่การหาสัดส่วนพื้นที่องค์ประกอบภูมิสถาปัตยกรรมที"เหมาะสมแล้วนำผลที"ได้ ไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานTREE-NC Version1โดยเฉพาะหัวข้อเรื่องที"เกี่ยวกับงานวางผังบริเวณและงานภูมิทัศน์ โดยพื้นที่ กรณีศึกษาเป็นสวนสาธารณะ 3 แห่งในกรุงเทพฯ วิธีการศึกษาส่วนที" 1) ใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร องค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรม ซึงประกอบด้วย พื้นที"ร่มเงา และพื้นที"ผิวดาดแข็ง ปราศจากร่มเงา กบ สภาพอากาศระดับจุลภาค ประกอบด้วยอุณหภูมิอากาศ ความชื้นและความเร็วลม ส่วนพื้นที"แหล่งนำกบสภาพอากาศ ใช้วิธีศึกษาแนวโน้มสภาพอากาศทีเกิดขึ้นในรอบวันจากบริเวณจุดพิกัดใกล้แหล่งน้ำวิธีการศึกษาส่วนที" 2) ใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่างสภาพอากาศกับค่าความรู้สึกในสภาพอากาศของกลุ่มตัวอย่างจำนวน321 คน แล้ววิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพยากรณ์ค่าสภาวะน่าสบาย แบบ รวมทุกพ้นที"กรณีศึกษา แบบแยกรายสถานที" และแบบแยกตามลักษณะกิจกรรม วิธีการศึกษาส่วนที" 3)ใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ ระหว่างพื้นที"ร่มเงากับพื้นที"ผิวดาดแข็งปราศจากร่มเงา กบความรู้สึกในสภาพอากาศแล้ววิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพยากรณ์สัดส่วนพื้นที"ร่มเงาและพื้นที"ผิวดาดแข็งที"เหมาะสมกบความรู้สึกพอใจในสภาพอากาศ โดยผลจากการศึกษาทั้ง 3 ส่วน สามารถสรุปได้ว่า ผลการศึกษาส่วนที1) พื้นที"ร่มเงาของต้นไม้และร่มเงาจากอาคารข้างเคียงมีอิทธิพลสำคัญต่อการลดลงของ อุณหภูมิและมีความสัมพันธ์แบบแปรผันตามกันกับความชื้นและความเร็วลมอย่างมีนัยสำคัญที"ระดับ 0.01 ส่วนพื้นที"ผิวดาดแข็ง กลางแจ้งปราศจากร่มเงานั้น มีอิทธิพลต่อการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอากาศ และมีความสัมพันธ์แบบแปรผกผันกบความเร็วลมอย่างมีนัยสำคัญที"ระดับ 0.01 ส่วนความสัมพันธ์กบความชื้นพบความสัมพันธ์ในระดับข้อมูลรายสถานที"คือสวนเฉลิมพระเกียรติฯ พบว่ามี ความสัมพันธ์แบบแปรผกผันกันอย่างที"ระดับ 0.01 ส่วนขนาดที"ของแหล่งนำขนาดใหญ่ให้อิทธิพลในลักษณะที"เป็นพื้นที่โล่งทำให้ลมไม่มีพื้นที"กีดขวางส่งผลต่อความเร็วลมและความสม่ำเสมอของลม ผลการศึกษาส่วนที"2) ค่าอุณหภูมิสบาย แบบรวมทุกสถานที"อยู่ที" 29.0 ๐ C โดยมีขอบเขตช่วงที"พอรับได้ที" 26.6 - 31.4 ๐ C และค่าความชื้นสัมพัทธ์ที"กาลังดีอยู่ที่ 54.5% ความเร็วลมที"พอใจคือ 2.80 m/s โดยมีช่วงความรู้สึกถึงลมได้ที"ผิวหนังอยู่ที" 0.48 - 5.0 m/s การเปรียบเทียบค่าสภาวะน่าสบายแบบ รายสถานที" พบว่าปัจจัยทีสำคัญมากคือความเร็วลมซึ่งเห็นได้จากการยอมรับค่าอุณหภูมิสบายที"สูงที"สุดของสวนเฉลิมพระเกียรติฯ ผลการศึกษาส่วนที"3) จากความสัมพันธ์และวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพบว่าในหนึ่งหน่วยพื้นที"ควรมีร่มเงาไม่น้อยกว่า 45.6% ขณะที"ในมาตรฐานTREE-NC Version1 กำหนดจำนวนต้นไม้หนึ่งต้นซึ่งให้ร่มเงาใต้ทรงพุ่มได้ประมาณ 15.9% ต่อพื้นที่100 ตร.ม. ส่วนปริมาณพื้นที่ผิวดาดแข็งกลางแจ้งกบความรู้สึกสบาย เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานTREE-NC Version1 พบว่าการที่ มาตรฐานดังกล่าวกำหนดพื้นที่ผิวดาดแข็งกลางแจ้งไว้ 50% อาจเป็นค่าที่สูงเกินไปเมท่อเปรียบเทียบผลการศึกษาครั้งนี้ซึ่งปริมาณพื้นที่ผิวดาดแข็งกลางแจ้ง ที"เหมาะสมกบความรู้สึกพอรับได้ของผู้คนจากการศึกษาในครั้งนี้น่าจอยู่ ที" 27.3% ของพื้นที่ The objectives of this thesis were consisted of: 1) to study in relationship between landscape elements compositions and microclimate; 2) to study in relationship between microclimate and sensation of samples which leads to determination of thermal comfort value; 3) to study in relationship between landscape elements compositions and thermal sensation of samples which leads to determination of suitable landscape architecture composition area ratio. Then, the derived results were compared with TREENC Version 1 standard, particularly in the topics related to region planning and landscape work. The case study areas were 3 parks in Bangkok. The conducted study methods were: 1) determination of correlation coefficients between landscape elements variables which consisted of shaded areas and shadeless hardscapes, and microclimate which consisted of air temperature, humidity and air velocity. For water body and climate, conducted by study in daily climate trend from the coordinate close to water body; 2) determination of correlation coefficients between climate variables and sensation value of 321 samples and analyzed be linear regression method to forecast thermal comfort in the type of combined all case study areas, separated each location and separated by activity type and; 3) determination of correlation coefficients between landscape elements compositions such as shaded areas and shadeless hardscapes, and sensation, then, conducted linear regression analysis to forecast ratio of shaded areas and shadeless hardscapes which was suitable to climate satisfaction. The results derived from study in 3 sections could be concluded as: 1) the shading areas; from the trees and from the nearby buildings, have obviously an effect on the reduction of the air temperature and have significant direct variation with humidity and wind speed at 0.01 of significance level. The shadeless hardscapes have significantly influenced to the increase of days air temperature and significantly inversely varied with wind speed at 0.01 of significance level. For the relationship with humidity, the relationship was found in location information level in Anniversary Park, which was inverse variation at 0.01 of significance level. For the areas of large water body have influenced in the aspect of opened clear area which caused no wind obstacle area and affected to wind speed and regularity; 2) total thermal comfort temperature of all locations was 29.0 ๐C, acceptable range was 26.6-31.4 ๐C and well relative humidity was 54.5%, satisfied wind speed was 2.80 m/s, skin sensible wind speed was ranged in 0.48-5.0 m/s. The comparison of thermal comfort for each location indicated that wind speed was very important factor as could be observed by accepted highest thermal comfort temperature of Anniversary Park; 3) From the relationships and linear regression analysis, it was found that a unit area should be shaded at least 45.6%, while TREE-NC Version 1 defined that 1 tree could shade the area beneath by 15.9% per 100 square metre. For amount of shadeless hardscapes and thermal comfort, when compared with TREE-NC Version 1, it was found that 50% which the standard defined for shadeless hardscapes was excessive when compared to this study results. The amount of shadeless hardscapes which was suitable to people’s acceptability in this study should be 27.3% of areas. Department of Architecture
Type:
Discipline:
สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
Collections:
Total Download:
210