พื้นที่ชั่วคราวทางสถาปัตยกรรมจากพฤติกรรมนักท่องเที่ยว

Other Title:
Architectural temporary space of traveler behavior
Date:
2013
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองและออกแบบพื้นที่พักอาศัยชั่วคราวทางสถาปัตยกรรม ที่เกิดจากพฤติกรรมนักองเที่ยวกลุ่มสะพายป ทั้งในด้านกายภาพและบรวยากาศของพื้นที่ เพื่อสร้างที่ว่างและองค์ประกอบรองรับการพักอาศัยชั่วคราวทางสถาปัตยกรรม ที่เกิดจากการเดินทางท่องเที่ยวในระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในการแสดงออกรวมทั้งพื้นที่ส่วนตัว โดยศึกษาหลักทฤษฎีการรับรู้เกี่ยวกับพื้นที่ชั่วคราวที่เกิดต่อกิจกรรมของนักท่องเที่ยว และพัฒนแนวความคิดการกิดพื้นที่ชั่วคราว ให้สอดคล้องกับการใช้งานของนักท่องเที่ยวกลุ่มสะพายเป ได้ตรงตามความต้องการของกลุ่มที่มาใช้งานสมมุติฐานของผู้ศึษาเชื่อว่ พื้นที่สามารถตอบสนองต่อสภาวะการปรับและเปลี่ยนแปลงในการออกแบบ ซึ่ทำให้เกิดเป็นพื้นที่ชั่วคราวที่มารองรับการใช้พื้นที่ในช่งเวลาหนึ่งได้ อีกทั้งศึกษาร่วมกับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง คือ เส้นทางสัญจร การเคลื่อนที่ ผนัง ระดับ และ
เวลา ของผู้ที่มาใช้พื้นที่ ซึ่งสัมพันธ์กับบริบทโดยรอบ ทำให้เกิดกิจกรรมและเกิดการปฏิสัมพันธ์ต่อกันในแต่ละพื้นที่โครงการ ซึ่งจะทำให้การจักและเรียนฐกันของนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นผลจากการทดลอง ได้พบว่า พื้นที่ชั่วคราวที่กิดขึ้นนั้นสามารถปรับเปลี่ยนได้ในทุกพื้นที่ของที่พักอศัย ทั้งต้องนน ห้องน้ำ ทานอาหาร พักผ่อนรวมในพื้นที่สาธารณะ หรือจากพื้นที่เส้นทางสัญจรสวนรวของโครงการด้วย การเกิดเป็นพื้นที่ชั่วคราวต้องอาศัยปัจจัยโดยรอบที่ทำให้เกิดเป็นผลงานทางสถาปัตกม ทั้งลักษณะที่แสดงออกภายนอกและความสามารถในการใช้พื้นที่เอง ซึ่งแสดงออกมาเป็นความต้องการที่ตำงกันของกลุ่มผู้ใช้สอยจากการออกแบบชั้นสุดท้ายพบว่ ช่วงเวลาของวัน สามารถกำหนดกิจกรรมและพฤติกรรมการใช้งนในพื้นที่นั้นขึ้นมาได้ สิ่งนี้แสดงได้ถึงความหลากหลายทางบุคลิกและพฤติกรรมที่มีต่งกัน ทำใเกิดเป็นการออกแบบพื้นที่ที่มีความชั่วคราว ซึ่งสามารถปรับและเปลี่ยนแปลงตามประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวกลุ่มสะพายเป้ได้ The objectives of this research is to compare mobile office arrangement andconventional office arrangement in terms of staff satisfaction and energy saving. The studyused KTC office in Samutchawanid building 2 on floor P2 and 11 as the case study. The sample includes 26 staff in conventional office on the P2 floor and 59 staff in Mobile office on the 11h floor. Study satisfaction a questionnaire was used to survey the staff analysis result of sample staff use conventional office staff like to sits most satisfaction is sits near know colleague and area sit no disturbance sound and analysis of sample staff use Mobile office and convention office as same as. The analysis using T-test showed that the degrees of satisfaction of staff in mobile office arrangement are significantly higher (p<0.01) in terms of the flexibility of workplace, the versatility of workplace, the convenience of group meeting and the convenience of social congregation. On the other hand, the degree of satisfaction of the staff in conventional office are significantly higher (p<0.05) in terms of the communication convenience. The satisfaction of electric energy using Of the conventional office t has workplace 220 square meter electric-power value using meter is 25 Sq m and electric power using in the Mobile office has workplace 2200 square power electric use area meter is 1.2 Sq m evident is quantity electric energy in 1 month square meter of Mobile office less than 17 because Mobile office have change workplace always personal can turn off light in the part not use if in the workplace have using 2 personal company way moving personal working together in part that has an officer more than for decrease use electric this part if personal working may be working group conference and charge battery is full notebook after working not charge battery all the time to work make use the energy less than conventional office.
Type:
Discipline:
สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
Collections:
Total Download:
598