การศึกษาสถาปัตยกรรมเขตพระราชฐานชั้นในของพระบรมหาราชวังและพระราชวังสมัยรัชกาลที่ 3 - 5

Other Title:
The architecture of the inner places (phra Ratchathan Chan Nai) from the reign of King Rama III to V
Author:
Advisor:
Date:
2009
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบและการวางแผนทางสถาปัตยกรรมเขตพระราชฐานชั้นใน ของพระบรมมหาราชวัง และพระราชวังสมัยรัชกาลที่ 3-5 โดยให้ความสำคัญในการศึกษาสถาปัตยกรรมในเขตพระราชฐานชั้นในที่เป็นที่สำหรับสตรีฝ่ายใน เป็นส่วนสำคัญที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆของสยามในสมัยรัชกาลที่ 3-5 ผลการศึกษาพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านการวางผังและรูปแบบสถาปัตยกรรมไปตามกระแสวัฒนธรรมต่างๆ ที่เข้ามาผ่านการพิจารณาขององค์พระมหากษัตริย์ และส่งผลต่อระเบียบจารีตประเพณีของฝ่ายใน แล้วสะท้อนออกมาทางสถาปัตยกรรมในแต่ละยุคสมัยคือ
สมัยรัชกาลที่ 3 วัฒนธรรมจีนหลั่งไหลเข้ามาในสยามมีอิทธิพลต่อพระราชนิยมของรัชกาลที่ 3 แต่ระเบียบจารีตประเพณีโบราณของฝ่ายในเคร่งครัดอยู่ ทำให้สะท้อนออกมาทางสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบไทยผสมกับสถาปัตยกรรมแบบจีน
สมัยรัชการลที่ 4 วัฒนธรรมจีนลดบทบาทลงวัฒนธรรมตะวันตกเริ่มเข้ามาอิทธิพลต่อพระราชนิยมรัชกาลที่ 4 และจารีตประเพณีโบราณก็เริ่มผ่อนคลายลง สะท้อนออกมาทางสถาปัตยกรรมที่มีการปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกในบางส่วน แต่ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสมัยรัชกาลที่ 3 มากนัก กรณีศึกษาเขตพระราชฐานชั้นในของพระราชวังพระนครคีรี
สมัยรัชกาลที่ 5 กระแสวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามากขึ้น มีอิทธิพลต่อพระราชนิยมของรัชกาลที่ 5 ระเบียบจารีตประเพณีโบราณผ่อนคลายลงและมีการปรับวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาสะท้อนออกมาทางสถาปัตยกรรมเขตพระราชฐานชั้นในของพระบรมราชวังรับอิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบคลาสสิค และเขตพระราชฐานชั้นในพระราชวังสวนดุสิตรับอิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบโรแมนติค The purposes of the architecture is the studies of environment factors that changed the form of the architecture of the inner palaces (phan ratchathan chan nai) of grand palaces and royal palaces form the period of King Rama III to King Rama V by aware the architecture of the inner palaces (phan ratchathan chan nai ) where is for the women’s division area that the important reflect the changing of many factors in Siam from the period of King Rama LLL to King Rama V. according to the result of studies we can know that the form of architecture is changing with others cultures through the King’s consideration and relay the traditional of the inner and reflect the architecture in each period.
The period of King Rama lll Chinese culture fluent In Siam and influence with the King Rama lll’s favorable but the ancient order and tradition of the inner palaces still austerely. Thus there is reflecting the architecture which is mixing the Thai architecture and Chinese architecture.
The period of King Rama IV, Chinese culture is decreased by the influent of western culture is become the King Rama IV’s favorable and reducing the ancient tradition according to the case study of the inner palaces of Pra Nakorn Keree’s royal palaces, there is reflect the architecture which is adjusted with the part of Western form architecture but there is not change from the period of King Rama lll.
The period of King Rama V, the influent of western culture is more increasing and there is influence the King Rama V’s favorable, while the ancient tradition order is reduced by receive the western culture which reflects the architecture of the inner palaces of the King’s palaces is receiving the Classic western architecture and the inner palaces of Suan Dusit royal palaces is influenced by the Romantic Western architecture
Description:
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม))--มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552
Type:
Degree Name:
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Discipline:
ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
Temporal Coverage:
สมัยรัชกาลที่ 3
สมัยรัชกาลที่ 4
สมัยรัชกาลที่ 5
สมัยรัชกาลที่ 4
สมัยรัชกาลที่ 5
Rights Holder:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Collections:
Total Download:
166